เลิกจ้างงาน ลาออก ตกงาน ขอรับเ งิ นได้จำนวน 45,000 บาท
เป็นข่าวดีสำปรับประชาชาหลายๆคนที่ยังไม่ทราบข่าว ว่าตอนนี้ สำหรับใครที่โดนเลิกจ้าง หรือลาออกตอนนี้
สามารถเบิกเงินได้ โดยหลายๆคนยังไม่ทราบดี วันนี้ เราจะพาทุกท่านไปดูรายละเอียดกัน
โดยพนักงานลูกจ้างทั้งหลายควรรู้เอาไว้ ใครที่อยู่ในช่วงกำลังตกงาน บริษัทเลิกจ้าง หรือลาออกจากงาน เราสามารถขอรับเ งิ นได้จำนวนเ งิ น 45,000 บาท โดยมีขั้นตอนในการทำดังนี้
1. หากลูกจ้างลาออกหรือถูกบังคับให้ลาออกนั้น ลูกจ้างจะได้รับเ งิ นนี้ เพียง 13,500 บาทเท่านั้น ประกันสังคมจ่าย 30% ของเ งิ นเดือนแต่ไม่เกินยอดเ งิ นเดือน 15,000 บาท เป็นเวลา 3 เดือน
2. ลูกจ้างถูกเลิกจ้างหรือไล่ออกโดยไม่มีเหตุ : ลูกจ้างจะได้สิทธิรับเ งิ นก้อนนี้สูงสุดถึง 45,000 บาททีเดียว
(ประกันสังคมจ่าย 50% ของเ งิ นเดือนแต่ไม่เกินยอดเ งิ นเดือน 15,000 บาท เป็นเวลา 6 เดือน)
เอกสารที่เราต้องเตรียมมาประกอบหลักฐานคือ
ส ามีซ่อนกล้องไว้ แอบดูสิ่งที่เมียทำตอนกลางคืน เขาถึงกับอ้าปากค้าง!
สามีเปิดเผยกล้องที่เขาแอบถ่ายภรรยา สิ่งที่เธอทำน่าตกใจมาก!
ผมสนุกกับเมียเด็กได้ทั้งคืน เคล็ดลับคือ…
1. บัตรประชาชน
2. รูปถ่าย 1 นิ้ว 1 รูป
3. สมุดบัญชีเ งิ นฝาก
ถ้ามีหนังสือเลิกจ้างก็นำไปด้วย ถ้าหากไม่มีไม่เป็นไร และสำคัญที่สุดต้องยื่นภายใน 30 วัน นับแต่ตกงาน ถ้าไปช้าโดน ตั ดสินทันที
ต กงาน เลิกจ้างงาน ลาออก
กรณีว่างงาน หลักเกณฑ์และเงื่อนไขการเกิ ดสิทธิ
1. จ่ายเ งิ นสมทบมาแล้ว 6 เดือน ภายในระยะเวลา 15 เดือน ก่อนการว่างงานกับนายจ้างรายสุดท้าย หรือกรณีผู้ประกันตนว่างงานเนื่องจากเหตุสุดวิสัย
2. มีระยะเวลาการว่างงานตั้งแต่ 8 วันขึ้นไป
3. ผู้ประกันตนต้องขึ้นทะเบียนผู้ว่างงานผ่านระบบอินเทอร์เน็ต ของสำนักงานจัดหางานของรัฐภายใน 30 วัน นับแต่วันที่ลาออกหรือถูกเลิกจ้าง หรือสิ้นสุดสัญญาจ้างจึงจะมีสิทธิได้รับประโยชน์ทดแทนกรณีว่างงานนับแต่วันที่ 8 ของการว่างงาน
4. ต้องรายงานตัวตามกำหนดนัดผ่านระบบอินเทอร์เน็ต ของสำนักงานจัดหางานไม่น้อยกว่าเดือนละ 1 ครั้ง
5. เป็นผู้มีความสามารถในการทำงาน และพร้อมที่จะทำงานที่เหมาะสมตามที่จัดให้
6. ต้องไม่ปฏิเสธการฝึกงาน
7. ผู้ที่ว่างงานต้องไม่ถูกเลิกจ้างเนื่องจากกรณี มีดังนี้
– ทุจริตต่อหน้าที่กระทำผิดอาญาโดยเจตนาแก่นายจ้าง
– จงใจทำให้นายจ้างได้รับความเสียหาย
– ฝ่าฝืนข้อบังคับ หรือระเบียบเกี่ยวกับการทำงาน หรือคำสั่งอันชอบด้วยกฎหมายในกรณี ร้ า ยแรง
– ละทิ้งหน้าที่เป็นเวลา 7 วันทำงานติดต่อกัน โดยไม่มีเหตุอันควร
– ประมาทเลินเล่อเป็นเหตุให้นายจ้างได้รับความเสียหายอย่างร้ า ยแรง
– ได้รับโทษตามคำพิพากษา
– ต้องมิใช่ผู้มีสิทธิได้รับประโยชน์ทดแทนในกรณีชราภาพ
ต กงาน เลิกจ้างงาน ลาออก
เ งิ นทดแทนในระหว่างการว่างงาน ดังนี้
1. กรณีถูกเลิกจ้าง : ได้รับเ งิ นทดแทนระหว่างการว่างงานปีละไม่เกิน 180 วัน ในอัตราร้อยละ 50 ของค่าจ้างเฉลี่ย โดยคำนวณจากฐานเ งิ นสมทบ
ขั้นต่ำเดือนละ 1,650 บาท และฐานเ งิ นสมทบสูงสุดไม่เกิน 15,000 บาทตัวอย่างเช่น ผู้ประกันตนมีเ งิ นเดือนเฉลี่ย 10,000 บาท จะได้รับเดือนละ 5,000 บาท (รายละเอียดย่อย ตามด้านบน)
2. กรณีลาออกหรือสิ้นสุดสัญญาจ้างตามกำหนดระยะเวลา : ได้รับเ งิ นทดแทนระหว่างการว่างงานปีละไม่เกิน 90 วัน ในอัตราร้อยละ 30 ของค่าจ้างเฉลี่ย
โดยคำนวณจากฐานเ งิ นสมทบขั้นต่ำเดือนละ 1,650 บาท และฐานเ งิ นสมทบสูงสุดไม่เกิน 15,000 บาท ตัวอย่างเช่น ผู้ประกันตนมีเ งิ นเดือนเฉลี่ย 10,000 บาท จะได้รับเดือนละ 3,000 บาท
3. ในกรณียื่นคำขอรับเ งิ นทดแทนกรณีว่างงานเพราะเหตุถูกเลิกจ้าง หรือเหตุถูกเลิกจ้างและลาออกหรือ สิ้นสุดสัญญาจ้างเกินกว่า 1 ครั้ง
ภายใน 1 ปีปฏิทินให้มี สิทธิ์ที่จะได้รับเ งิ นทดแทนทุกครั้ง รวมกันเป็นเวลาไม่เกิน 180 วัน เว้นแต่ในกรณียื่นขอรับประโยชน์ทดแทนในกรณีการว่างงาน
เพราะเหตุออกหรือสิ้นสุดสัญญาจ้าง เกินกว่า 1 ครั้งภายใน 1 ปีของปฏิทิน ที่มีสิทธิ์ได้รับเ งิ นทดแทนเวลารวมกันไม่เกิน 90 วัน
สถานที่ยื่นเ รื่ อ ง
1. ผู้ประกันตนต้องขึ้นทะเบียนผู้ว่างงานและรายงานตัวผ่านระบบอินเตอร์เน็ต เว็บไซต์ของสำนักงานจัดหางานของรัฐภายใน 30 วัน นับแต่วันที่ถูกเลิกจ้างหรือลาออก
หรือสิ้นสุดสัญญาจ้าง และรายงานตัวตามกำหนดนัด เพื่อมิให้เสียสิทธิในการรับเ งิ นทดแทน
2. ยื่นแบบคำขอรับประโยชน์ทดแทนกรณีว่างงาน (สปส. 2-01/7) ได้ที่สำนักงานประกันสังคม กรุงเทพมหานครพื้นที่/สำนักงานประกันสังคมจังหวัดและสาขาทั่วประเทศ
(ยกเว้น สำนักงานใหญ่ในบริเวณกระทรวงสาธารณสุข) สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม โทรสาย 1694 ในวันและเวลาราชการ 08.30-16.30 น.
หลักฐานที่ต้องใช้เพื่อขอรับประโยชน์ทดแทน กรณีว่างงาน
1. แบบคำขอรับประโยชน์ทดแทนกรณีว่างงาน (สปส. 2-01/7)
2. หนังสือรับรองการออกจากงานหรือสำเนาแบบแจ้งการลาออกจากงานของผู้ประกันตนออกจากงานของผู้ประกันตน (สปส. 6 -09) กรณีที่ไม่มีสำเนา สปส.6-09 ก็สามารถไปขึ้นทะเบียนกรณีว่างงานได้
3. หนังสือหรือคำสั่งของนายจ้างให้ออกจากงาน (ถ้ามี)
4. หนังสือรับรองการขอรับประโยชน์ทดแทนในกรณีว่างงาน เนื่องจากเหตุสุดวิสัยกรณีเป็นผู้ประกันตนกรณีว่างงานเนื่องจากเหตุสุดวิสัย
5. สำเนาสมุดบัญชีเ งิ นฝากธนาคารประเภทออมทรัพย์หน้าแรกซึ่งมีชื่อและเ ลvที่บัญชีของผู้ประกันตน
หากใครสงสัย สามารถติดต่อสอบถามได้ที่ : 1694 ในวัน เวลาราชการ 08.30-16.30 น. เท่านั้น
ขอบคุณข้อมูลจาก : สำนักงานประกันสังคม