เงินประกันสังคม 5,000 บาท

เรียกได้ว่าจากกรณี รัฐสั่งปิดกิจการ ในตอนนี้ ทำให้ประชาชนหลายๆคนเดือ ด ร้อนจากเศษฐกิจ ไม่ดีในตอนนี้

กลับต้องขายของไม่ได้อีก รัฐจึงเล็งเห็นความลำบาก เร่งออกมาตรการช่วยเหลือแล้ว

กรณีเยียวย าผู้ได้รับผลกระทบจากมาตรการรัฐ ในการควบคุม นอกจากเงินเยียวย า 2,500 บาทจากรัฐแล้ว

“ประกันสังคม” ก็จะจ่ายชดเชยรายได้ 50% ให้แก่ผู้ประกันตน ม.33 ด้วย แต่มีเงื่อนไขหลายข้อ อาจไม่ได้เงินทุกคน

 

นายนันทชัย ปัญญาสุรฤทธิ์ โฆษกสำนักงานประกันสังคม ออกมาเปิดเผยถึงสิทธิประโยชน์ของผู้ประกันตน และการทำความเข้าใจกรณี

“เงินเยียวย า” ที่ถูกต้อง ที่จะนำมาเยียวย ากลุ่มผู้ได้รับผลกระทบในช่วงนี้

โดยเฉพาะกรณีของผู้ประกันตน ม.33 โฆษกประกันสังคมระบุว่า จะได้รับเงินเยียวย า 2 รูปแบบ คือ 1)เงินเยียวย าที่มาจากรัฐบาล 2

เงินชดเชยรายได้ 50% ที่มาจากประกันสังคม

 

“ลูกจ้างที่เป็นผู้ประกันตน มาตรา 33 จะได้รับ “เงินเยียวย า” แบ่งเป็น 2 รูปแบบ โดยแบบแรกคือท่านจะได้รับการเยียวย าจากรัฐ

คือ เงินเยียวย า 2,500 บาท ซึ่งตรงนี้เป็นเงินจากรัฐบาล ไม่ใช่เงินจากประกันสังคม โดยลูกจ้างสามารถเข้าไปเช็คสิทธิได้ที่ www.sso.go.th

คลิกไปที่ ตรวจสอบสิทธิฯ ผู้ประกันตน ม.33 แล้วกรอกเลขบัตรประชาชนลงไป ก็สามารถเช็คได้เลย” นายนันทชัย กล่าว

 

 

1. เงินเยียวย า 2,500 บาท รับผ่านบัญชีพร้อมเพย์

สำหรับเงินเยียวย าพิเศษจากรัฐบาล จำนวน 2,500 บาทนั้น ทางสำนักงานประกันสังคมมีฐานข้อมูลของผู้ประกันตน มาตรา 33 อยู่แล้ว

จึงนำข้อมูลมาทำเป็นระบบตรวจสอบสิทธิให้ ซึ่งวันนี้ท่านสามารถตรวจสอบได้แล้ว เพียงแค่คีย์หมายเลขบัตรประชาชนเข้าไป ก็ตรวจสอบได้เลย

ส่วนช่องทางการรับเงินก้อนนี้ ลูกจ้างที่เช็คสิทธิแล้วพบว่า “ได้รับสิทธิ” ขั้นตอนต่อไปให้ไปทำบัญชีพร้อมเพย์

 

 

โดยผูกกับเลขบัตรประชาชนเท่านั้น ไม่ใช่ผูกกับหมายเลขโทรศัพท์ ซึ่งหากใครที่มีพร้อมเพย์อยู่แล้ว แต่ผูกกับหมายเลขโทรศัพท์เอาไว้

ก็สามารถไปที่ธนาคารที่ใช้บริการอยู่ เพื่อแจ้งแก้ไขการผูกบัญชีให้ใหม่ได้

2. เงื่อนไขการรับเงินเยียวย า 2,500 บาท

สำหรับผู้ประกันตน มาตรา 33 ที่จะได้เงินเยียวย า 2,500 บาทนี้ มีเงื่อนไข คือ จะต้องเป็นลูกจ้างสัญชาติไทยเท่านั้น!

 

และ ต้องอยู่ใน 10 จังหวัด 9 หมวดกิจการ/อาชีพที่ได้รับผลกระทบ

เมื่อระบบของประกันสังคมตรวจสอบแล้ว พบว่าท่านเป็นผู้มีสิทธิได้เงินเยียวย าส่วนนี้ เงินจะถูกโอนไปให้ผ่านพร้อมเพย์ได้เลย ไม่ต้องทำขั้นตอนใดๆ อีก

3. เช็คสิทธิได้ตลอดเดือน ก.ค.2564

ทั้งนี้ มีบางกรณีที่ลูกจ้างมั่นใจว่าตนเองอยู่ในกลุ่ม 9 อาชีพแน่ๆ แต่เมื่อเช็คแล้วกลับพบว่า “ไม่ได้รับสิทธิ” กรณีนี้

นายนันทชัย กล่าวเพิ่มเติมว่า ขณะนี้ทางประกันสังคมอยู่ระหว่างการปรับเพิ่มหมวดอาชีพเข้ามาในระบบ อาจต้องใช้เวลาสักระยะ

ดังนั้นหลังจากการประชุม ครม. พรุ่งนี้ (20 ก.ค.) ให้ท่านเข้าไปเช็คสิทธิใหม่ได้อีกครั้ง และสามารถเช็คสิทธิได้ตลอดเดือน ก.ค.2564

4. เงินชดเชยจาก “ประกันสังคม” 50% คืออะไร?

ต่อมาในส่วนของ “เงินชดเชย” หรือ “เงินทดแทนการขาดรายได้” ลูกจ้างจะได้รับเมื่อเกิดการว่างงานด้วยเหตุสุดวิสัย ซึ่งในที่นี้ก็คือ

กิจการที่รัฐสั่งให้ปิด ลูกจ้างที่เข้าข่ายนี้ ก็จะได้สิทธินี้จาก “ประกันสังคม” โดยตรง

โดยได้รับเงินชดเชย 50% ของฐานค่าจ้างที่นำส่งประกันสังคม แต่สูงสุดไม่เกิน 7,500 บาท โดยผู้ประกันตน ม.33 บางส่วนก็จะได้เงินชดเชยตรงนี้ด้วย

ที่บอกว่าบางส่วนก็เพราะมีเงื่อนไขที่ต้องนำมาพิจารณาคัดกรอง ดังนี้

– เป็นผู้ประกันตน ม.33 ที่มีสัญชาติไทย และอยู่ในพื้นที่ควบคุมสูงสุดและเข้มงวด (สีแดงเข้ม) ใน 10 จังหวัด* 9 กลุ่มอาชีพ

– ผู้ประกันตน ม.33 ที่จะได้สิทธินี้ จะต้องถูกเลิกจ้างในกรณีที่กิจการนั้นๆ

ก็คือไปทำงานไม่ได้ ก็จะได้รับเงินชดเชย 50% ของฐานเงินเดือนที่นำส่งประกันสังคม แต่ไม่เกิน 7,500 บาทต่อคน

– ต้องส่งเงินประกันสังคมอย่างน้อย 6 เดือน ภายใน 15 เดือนนับย้อนหลังไป อันนี้เป็นเงื่อนไขของการเกิดสิทธินี้ ซึ่งผู้ประกันตนสามารถเช็คดูได้

– สิทธินี้ให้เฉพาะลูกจ้าง ม.33 ที่ถูกหยุดจ้างงาน ก็คือไม่ได้รับเงินเดือนจากนายจ้าง

– แต่ถ้านายจ้างไม่ได้หยุดจ้าง ท่านก็จะไม่ได้เงินชดเชยตรงนี้ แต่ยังคงได้เงิน 2,500 บาทจากรัฐบาลที่จัดสรรมาช่วยเหลือเพิ่มเติมที่เรียกว่า “เงินเยียวยา”

*หมายเหตุ : กรณีที่จะพิจารณาให้อีก 3 จังหวัด* ปรับโซนเป็นพื้นที่สีแดงเข้มเพิ่มเติม (ชลบุรี/ฉะเชิงเทรา/อยุธยา) ตรงนี้ต้องนำเข้า ครม.

(20 ก.ค.64) และรอให้อนุมัติเห็นชอบเสียก่อน กลุ่มลูกจ้าง ม.33 ใน 3 จังหวัดดังกล่าวจึงจะได้สิทธิเหล่านี้

มาดูในส่วนของการโอนจ่ายเงินชดเชย 50% จากประกันสังคม ลักษณะการดำเนินการคือ ประกันสังคมจะขอให้นายจ้าง

(บริษัท/ห้างร้าน/ผู้ประกอบการ) ซึ่งเป็นกิจการที่ถูกรัฐสั่งให้ปิดเท่านั้น ให้ทำการรวบรวมแบบฟอร์มข้อมูลของลูกจ้างที่ได้รับผลกระทบเอาไว้

โดยให้ระบุว่ามีลูกจ้างจำนวนกี่คน ชื่อลูกจ้างแต่ละคน และเลขบัญชีเงินฝากของลูกจ้างแต่ละคนด้วย

(ทางประกันสังคมเราจะเปิดหน้าเว็บสำหรับทำแบบฟอร์มไว้ให้) ส่วนนี้ลูกจ้าง (ผู้ประกันตน ม.33) ไม่ต้องดำเนินการเอง

เป็นหน้าที่ของนายจ้างเป็นคนดำเนินการให้ตามกฎหมาย โดยเงินจะถูกโอนให้ผ่านบัญชีเงินเดือนของลูกจ้าง

ส่วนตัวลูกจ้างเองมีหน้าที่แค่กรอกแบบฟอร์มไปส่งนายจ้าง เพื่อให้นายจ้างรวบรวมแล้วส่งอีเมลมาที่ประกันสังคมเอง

ลูกจ้างไม่ต้องมาที่สำนักงานประกันสังคมด้วยตัวเอง

ที่มา : นันทชัย ปัญญาสุรฤทธิ์ โฆษกสำนักงานประกันสังคม (19 ก.ค.64)